Popular Posts

Wednesday, February 27, 2013

ขั้นตอนการผลิตนํ้าดื่ม


ขั้นตอนการผลิตนํ้าดื่ม


นับวัน ความต้องการบริโภคนํ้าดื่มบรรจุขวดจะเพิ่มขึ้น
ตามจำ นวนประชากรและรายได้ของครัวเรือน ส่งผลให้ผู้
ประกอบการรายใหม่ๆ ที่มองเห็นโอกาสทางการตลาด เข้าสู่
ธุรกิจนํ้าดื่มบรรจุขวดเป็นจำ นวนมาก โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายเล็ก
แม้ในช่วงเวลาที่ผ่านมา อุตสาหกรรมผลิตนํ้าดื่มจะขยาย
ตัวค่อนข้างสูง ทว่า ธุรกิจนี้ได้ประสบกับภาวะการแข่งขันมาก
ด้วยเช่นกัน ดังนั้น ผู้ที่ต้องการลงทุนในธุรกิจนี้ ควรศึกษาข้อมูล
ดังต่อไปนี้เพื่อประกอบการตัดสินใจ

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- การจัดตั้งธุรกิจ/รูปแบบธุรกิจ
รายละเอียดการจัดตั้งธุรกิจ / การขออนุญาต ผูส้ นใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2544 สำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้
กำ หนดให้ธุรกิจนํ้าดื่มบรรจุขวด เป็นหนึ่งในสินค้าที่ต้องกำ หนดวิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการ
ผลิต และการเก็บรักษาสินค้าตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีหรือจีเอ็มพี (Good Manufacturing
Practice : GMP) ในการผลิตนํ้าดื่ม GMP มีผลบังคับใช้กับผู้ประกอบการนํ้าดื่มรายใหม่ในวันที่
24 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป ส่วนผู้ประกอบการรายเดิมมีเวลาปรับปรุง เพื่อให้ถูกต้องตามมาตร
ฐานเป็นเวลา 2 ปี หรือเริ่มบังคับใช้วันที่ 24 กรกฎาคม 2546 สำ หรับสาระสำ คัญของมาตรฐาน
GMP ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขมี 11 ประเด็น สรุปได้ ดังนี้

1. สถานที่ผลิตและอาคารที่ผลิต จะต้องตั้งอยู่ในพื้นที่สะอาด ไม่มีการสะสมของสิ่งเหลือใช้ หรือ
สิ่งปฏิกูลต่างๆ รวมทั้งต้องมีวิธีป้องกันสิ่งปนเปื้อน ทั้งฝุ่นละออง เชื้อโรค แมลงและสัตว์นำ โรค
สถานที่ผลิตจะต้องถูกออกแบบก่อสร้างให้มีลักษณะง่ายต่อการทำ ความสะอาดนอกจากนี้ ต้อง
แบ่งแยกพื้นที่การผลิตเป็นสัดส่วน เพื่อป้องกันการปนเปื้อน ประการสำ คัญ ต้องแยกพื้นที่สำ หรับ
ผลิตสินค้าออกจากบริเวณที่อยู่อาศัยและห้องนํ้าห้องส้วมอย่างชัดเจน

2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต จะต้องมีจำ นวนเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ติดตั้งในตำ แหน่งที่เหมาะสม สามารถทำ ความสะอาดได้ง่าย และถูกล้างทำ ความสะอาดฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอทั้งก่อนและหลังการผลิต

3. แหล่งนํ้า แหล่งนํ้าที่นำ มาใช้ผลิตนํ้าดื่มต้องห่างจากแหล่งโสโครกและสิ่งปฏิกูล โดยผู้ผลิตต้อง
เก็บตัวอย่างนํ้าไปตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมี กายภาพ และจุลินทรีย์อย่างน้อยปีละ 1
ครั้ง
4. การปรับคุณภาพน้ำ ผู้ประกอบการตอ้ งปรับคุณภาพของแหล่งน้ำ ตามข้อ 3 เพื่อกำ จัดสิ่งปน
เปื้อน ใหอ้ ยูใ่นระดับที่กฎหมายกำ หนด
5. ภาชนะบรรจุ ต้องทำ จากวัสดุไม่มีพิษ และได้รับการทำ ความสะอาดก่อนนำ มาใช้
6. สารทำ ความสะอาดและฆ่าเชื้อ ผู้ผลิตจะต้องทดสอบประสิทธิภาพการทำ ความสะอาดและ
การฆ่าเชื้อ
7. การบรรจุ ด้วยเครื่องบรรจุที่มีประสิทธิภาพและสะอาด
8. การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน ผูป้ ระกอบการต้องตรวจวิเคราะห์น้ำ ดื่มที่ผลิต ทั้งด้านจุลินทรีย์
เคมี ฟิสิกส์ เป็นประจำ
9. การสุขาภิบาล ผู้ผลิตต้องมีวิธีกำ จัดสัตว์และแมลง รวมทั้งระบบกำ จัดของเสียในโรงงานที่
เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับสินค้าที่ผลิต
10. บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน ผูป้ ฏิบัติงานต้องไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง รวมทั้งจะต้อง
รักษาร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ ในขณะที่ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หากเข้ามาในพื้นที่
ผลิต ก็ต้องรักษาความสะอาดของร่างกายด้วยเช่นกัน
11. บันทึกและรายงาน ผูผ้ ลิตตอ้ งบันทึกและรายงานเกี่ยวกับการตรวจวิเคราะห์น้ำ สภาพการ
ทำ งานของเครื่องกรองหรือเครื่องฆ่าเชื้อโรค รวมทั้งคุณภาพของนํ้าดื่ม ทั้งด้านเคมี ฟิสิกส์ และ
จุลชีววิทยา
กลุม่ ลูกค้าสามารถแบ่งตามลักษณะการบรรจุของน้ำ ดื่มได้ ดังนี้
1. น้ำ ดื่มบรรจุขวด กลุม่ ลูกคา้ จะเป็นกลุ่มบุคคลทั่ว ๆ ไป ที่ต้องการดื่มน้ำ ในปริมาณไม่มาก
หาซื้อง่าย สะดวกต่อการพกพาและการเดินทาง จะเห็นได้ว่าตามร้านค้าทั่ว ๆ ไป มีนํ้าดื่มบรรจุ
ขวดอยูห่ ลายขนาด เพื่อจำ หน่ายให้กับผู้บริโภค
2. น้ำ ดื่มบรรจุถัง กลุม่ ลูกคา้ จะเปน็ กลุ่มอาคารบ้านเรือน อาคารสำ นักงาน โรงงาน เป็นต้น น้ำ
ดื่มบรรจุถังมีราคาถูก และมีนํ้าปริมาณมาก
หมายเหตุ
1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นเพียงการให้ความรู้เบื้องต้นเท่านั้น
2. การเก็บข้อมูลได้ดำ เนินการในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น ข้อมูลอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์
ต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบต่อธุรกิจ

No comments:

Post a Comment